ศีรษะล้านจากพันธุกรรม

อาการศีรษะล้านจากพันธุกรรม หรือ Androgenetic Alopecia (AGA) มีสาเหตุจากการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ผ่านยีนส์บนโครโมโซม X ของแม่มายังรุ่นลูก ซึ่งอาการดังกล่าวสามารถพบได้ในทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยมีอัตราส่วนที่พบในเพศชายมากกว่า

รูปแบบของศีรษะล้าน (Hairloss Pattern) ในเพศชายและเพศหญิง

ยีนส์หรือพันธุกรรมเป็นตัวกำหนดลักษณะของเซลล์รากผม (Hair Follicle) โดยเซลล์รากผมบริเวณขมับและกลางกระหม่อมจะมีจำนวนของตัวรับสำหรับฮอร์โมนเพศชาย (Androgen Receptor) มากกว่าบริเวณท้ายทอยถึง 1.5 เท่า เมื่อเซลล์ดังกล่าวได้รับฮอร์โมน Dihydrotestosterone (DHT) ในปริมาณมาก จะส่งผลให้เส้นผมที่เกิดใหม่มีขนาดเล็กลง หลุดร่วงเร็วขึ้น ผมบางลงและเกิดศีรษะล้านในที่สุด

ศีรษะล้านในเพศชาย (Male Pattern Baldness)

สำหรับเพศชายมักจะพบได้เร็วกว่า อาจมีอาการตั้งแต่อายุประมาณ 20 ปี และรุนแรงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นโดยบริเวณที่ศีรษะล้านมักเริ่มจากแนวของชายผมด้านหน้า และร่นลึกขึ้นไป โดยเฉพาะบริเวณขมับทั้ง 2 ข้าง จนเห็นเป็นรูปตัว M ตามมาด้วยอาการผมบางบริเวณกลางกระหม่อนจนเห็นเป็นรูปไข่ดาว และ ขยายพื้นที่ออกไปเรื่อย ๆ จนเหลือผมแค่บริเวณด้านข้างของศีรษะ

จากการแบ่งลักษณะของศีรษะล้านตามเกณฑ์ของ Norwood Hamilton Classification ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะศีรษะล้านในอาสาสมัครเพศชายชาวเอเชียตามงานวิจัยของ Hair Beam Air และ Hair Bang นั้น ทำให้เราสามารถแบ่งรูปแบบ และ ระดับความรุนแรงของศีรษะล้าน ได้ดังนี้

ศีรษะล้านในเพศหญิง (Female Pattern Baldness)

สำหรับเพศหญิง จะเริ่มมีอาการช้ากว่าเพศชาย ส่วนใหญ่จะไม่รุนแรงจนถึงขั้นศีรษะล้านทั้งหัวแต่ส่วนใหญ่มักมีอาการเป็นลักษณะผมบาง บริเวณด้านบนของศีรษะ โดยเฉพาะบริเวณรอยแสกกลาง หรือกลางกระหม่อม จนสังเกตุเห็นได้ชัดว่ามีรอยโหว่ของผมกลางศีรษะ และอาจขยายบริเวณออกไปรอบ ๆ

จากการแบ่งลักษณะของศีรษะล้านตามเกณฑ์ของ Ludwig Classification ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะศีรษะล้านในอาสาสมัครเพศหญิงชาวเอเชียตามงานวิจัยของ Hair Beam Air และ Hair Bang นั้น สามารถแบ่งรูปแบบ และ ระดับความรุนแรงของศีรษะล้านในเพศหญิง ได้ ดังนี้

สาเหตุของศีรษะล้าน

อาการศีรษะล้านจากพันธุกรรม หรือ Androgenetic Alopecia (AGA) มีสาเหตุจากการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ผ่านยีนส์บนโครโมโซม X ของแม่มายังรุ่นลูก สามารถพบได้ในทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยมีอัตราส่วนที่พบในเพศชายมากกว่า

ยีนส์หรือพันธุกรรมเป็นตัวกำหนดลักษณะของเซลล์รากผม (Hair Follicle) บนหนังศีรษะ พบเซลล์รากผมบริเวณขมับและกลางกระหม่อม จะมีตัวรับสำหรับฮอร์โมนเพศชาย (Androgen Receptor) ปริมาณมากกว่าบริเวณท้ายทอยถึง 1.5 เท่า เมื่อได้เซลล์ดังกล่าวได้รับฮอร์โมน Dihydrotestosterone (DHT) ส่งผลให้เส้นผมที่เกิดใหม่มีขนาดเล็กลง หลุดร่วงเร็วขึ้น ผมบางลง และ เกิดศีรษะล้านในที่สุด

ในเพศชายและเพศหญิงจะมีรูปแบบของศีรษะล้าน (Hairloss Pattern) แตกต่างกัน

ศีรษะล้านในผู้ชาย (Male Pattern Baldness)

สำหรับเพศชายมักจะพบได้เร็วกว่า อาจมีอาการตั้งแต่อายุประมาณ 20 ปี และรุนแรงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นโดยบริเวณที่ศีรษะล้านมักเริ่มจากแนวของชายผมด้านหน้า และร่นลึกขึ้นไป โดยเฉพาะบริเวณขมับทั้ง 2 ข้าง จนเห็นเป็นรูปตัว M ตามมาด้วยอาการผมบางบริเวณกลางกระหม่อนจนเห็นเป็นรูปไข่ดาว และ ขยายพื้นที่ออกไปเรื่อย ๆ จนเหลือผมแค่บริเวณด้านข้างของศีรษะ

จากการแบ่งลักษณะของศีรษะล้านตามเกณฑ์ของ Norwood Hamilton Classification ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะศีรษะล้านในอาสาสมัครเพศชายชาวเอเชียตามงานวิจัยของ Hair Beam Air และ Hair Bang นั้น ทำให้เราสามารถแบ่งรูปแบบ และ ระดับความรุนแรงของศีรษะล้าน ได้ดังนี้

ศีรษะล้านในผู้หญิง (Female Pattern Baldness)

สำหรับเพศหญิง จะเริ่มมีอาการช้ากว่าเพศชาย ส่วนใหญ่จะไม่รุนแรงจนถึงขั้นศีรษะล้านทั้งหัวแต่ส่วนใหญ่มักมีอาการเป็นลักษณะผมบาง บริเวณด้านบนของศีรษะ โดยเฉพาะบริเวณรอยแสกกลาง หรือกลางกระหม่อม จนสังเกตุเห็นได้ชัดว่ามีรอยโหว่ของผมกลางศีรษะ และอาจขยายบริเวณออกไปรอบ ๆ

จากการแบ่งลักษณะของศีรษะล้านตามเกณฑ์ของ Ludwig Classification ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะศีรษะล้านในอาสาสมัครเพศหญิงชาวเอเชียตามงานวิจัยของ Hair Beam Air และ Hair Bang นั้น สามารถแบ่งรูปแบบ และ ระดับความรุนแรงของศีรษะล้านในเพศหญิง ได้ ดังนี้

แม้สาเหตุหลักของปัญหาศีรษะล้านจะมาจากปัจจัยด้านพันธุกรรม แต่ปัญหาดังกล่าวก็สามารถรักษาและป้องกันได้ จึงเป็นที่มาของการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Hair Beam Air และ Hair Bangให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุด ในการรักษาและป้องกันศีรษะล้านจากสาเหตุต่าง ๆ รวมถึงสาเหตุจากพันธุกรรม โดยใช้หลักการ Low- Level Laser Therapy (LLLT) หรือคลื่นแสงเลเซอร์คลื่นแสงความถี่ต่ำ ที่เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีทางการแพทย์ ที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายว่ามีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการรักษาอาการผมร่วง ผมบางและศีรษะล้านได้จริง